วันจันทร์ที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2559

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 8

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 8

วัน อังคาร ที่ 18 เดือน ตุลาคม พ.ศ.2559 เวลา 08.30 - 12.30 น.

บรรยากาศในชั้นเรียนของวันนี้ 

         วันนนี้ครูทบทวนเนื้อหาของสัปดาห์ที่แล้ว พูดถึงการทำ Mind Map  พร้อมทั้งขอเล่นงานกลุ่มที่ได้สั่งไป ดังสรุปการเรียนการได้ดังนี้

      - การเรียนในวันนี้ เริ่มต้นด้วยการทบทวนบทเรียนในสัปดาห์ที่ผ่านมา
      - เรียนทฤษฎี เกี่ยวกับมารตรฐานวิทยาศาสตร์ สำหรับเด็กปฐมวัย
      - บรูณาการ คือ การเชื่อมโยงผ่านความสำคัญของหลายๆวิชาเข้าด้วยกันโดยผ่านหน่วยที่เราเลือก
      - จัดกิจกรรมให้เหมาะสมกับพัฒนาการเด็กสอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้
      - ครูให้นักศึกษาส่งของเล่นงานกลุ่มที่เหลือพร้อมให้คำแนะนำเพื่อนำไปปรับปรุงแก้ไขและพร้อมบอกถึงหลักการทางวิทยาศาสตร์

* การเรียนรู้เกิดขึ้นจากการลงมือกระทำและการมีปฏิสัมพันธ์กับธรรมชาติ

ภาพกิจกรรม





งานกลุ่ม 3 คน นำเสนอของเล่นที่แก้ไขเรียบร้อยแล้ว

    - กิจกรรมต่อมา อาจารย์ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน เพื่อคิดหน่วยการสอนที่สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ปฐมวัยเพื่อทำ Mind Map ในหน่วยที่เราเลือก

ภาพกิจกรรม


เรียนเรื่องมาตรฐานวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

   - ต่อมาอาจารย์ให้คำแนะนำของการทำ Mind Map ของแต่ละกลุ่มเพื่อนำไปปรับปรุงแก้ไข

       
ภาพกิจกรรม






จับกลุ่ม กลุ่มล่ะ 5 คนทำมายแมปเกี่ยวกับ อะไรก็ได้ เลือมา 1 หัวข้อ


หน่วย ผลไม้

หน่วยยานพาหนะ

หน่วยต้นไม้

หน่วยอากาศ

หน่วยผลไม้

หน่วยไข่

หน่วยปลา


ผลงานของเพื่อนๆหลังจากทำเสร็จแล้ว

หน่วย ดอกไม้
นี่คือผลงานกลุ่มของดิฉันค่ะ เราทำเรื่อง "ดอกไม้"

ดอกไม้ มีองค์ประกอบดังนี้
1.ประเภท
2.ลักษณะ (ชนิด)
3.ปัจจัย
4.ประโยชน์ (ทางตรง และ เชิงพาณิชย์)
5.การดูแลรักษา

ความรู้ที่ได้รับ
      -ได้รู้เรื่องเกี่ยวกับการทำของเล่นวิทยาศาสตร์เหมาะสำหรับเด็กปฐมวัย โดยของเล่นจะมีวิธีการเล่นที่ไม่ยากเกินไปใช้วัสดุที่มาตามธรรมชาติปลอดภัยกับเด็กและสงเสริมการเรียนรู้และบูรณาการกับวิชาวิทยาศาสตร์ด้วย 
       -ได้รู้เทคนิควิธีทำ Mind Map เป็นการจัดประสบการณ์ที่แยกเป็นหน่วย ย่อยๆ ได้หลากหลาย และวิธีการสอนที่หน้าสนใจแปลกใหม่ไม่ซ้ำใคร สามารถนำไปบูรณาการกับรายวิชาอื่นๆได้มากมาย และเหมาะสมกับเด็กแต่ล่ะช่วงวัยอีกด้วย

ทักษะ
1.ทักษะการสังเกต
2.ทักษะการทำงานเป็นกลุ่ม
3.ทักษะการตัดสินใจ
4.ทักษะการวิเคราะห์ตามคำแนะนำของครูผู้สอน
5.ทักษะการลงมือปฏิบัติ 
6.ทักษะการนำเสนอ

การนำไปประยุกต์ใช้
           สามารถนำเอาความรู้จากการทำ Mind Map ที่ทำในวันนี้ไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับรูปแบบในการสอน ของเด็กปฐมวัยเองได้และจะนำไปศึกษาวิธีการสอนใรูปแบบของ  Mind Map ใหม่ๆ  เพราะการทำ Mind Map เด็กจะจดจำเป็นภาพ ผ่านตา ผ่านภาพที่ปรากฏ ที่เป็นเส้นสมอง และภาพของโครงสร้างที่แยกย่อย เด็กก็จะเข้าใจง่ายและสนุกกับการทำกิจกรรม และยังส่งเสริมความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และยังส่งเสริมพัฒนาการทั้ง4ด้านไปพร้อมๆกันโดยนำวิธีที่ศึกษาและประสบการณ์เดิมเข้ามาใช้เพื่อสร้างผลงานใหม่ๆอย่างประสิทธิภาพ

เทคนิคการสอนของครู
1.สนทนาและบรรยายสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม
2.สอนให้ใช้เหตุผลประกอบเนื้อหาการสอน และจับประเด็นสำคัญ
3.เปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น


ประเมิณตนเอง : เข้าเรียนตรงต่อเวลา ช่วยเพื่อนๆระดมความคิด และออกไปนำเสนองานร่วมกับเพื่อน ให้ความสนใจและตั้งใจทำกิจกรรมตั้งแต่ต้น จนจบกิจกรรม

ประเมิณเพื่อน : ตรงต่อเวลา ตั้งใจร่วมกิจกรรมแสดงความคิดเห็นร่วมกัน และนำเสนองานของกลุ่มตนเองได้ลุล่วง

ประเมิณอาจารย์ : ตรงต่อเวลา พูดคุยสอบถามก่อนทำกิจกรรม และคอย ให้คำแนะนำหลังจากที่จบการนเสนอเพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไข 


วันเสาร์ที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2559

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 7

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 7

วัน อังคาร ที่ 11 เดือน ตุลาคม พ.ศ.2559 เวลา 08.30 - 12.30 น.

บรรยากาศในชั้นเรียน
         วันนี้เข้าเรียนตามเวลาปกติ เข้ามาก็สนทนาพูดคุยก่อนเรียน ครูภามว่าคราวที่แล้วครูให้เอางานกลุ่มส่งใช่ไหม ซึ่งครูลืมไปว่าคนล่ะเซค 555 และพูดคุยสำหรับบางคนที่นำมาด้วยที่แก้ไขเพิ่มเติมแล้ว ครูก็ตรวจดูความเรียนร้อยของงานรอจนเพื่อนมากันจนครบจึงเริ่มเรียน วันนี้ครูให้จับกลุ่ม กลุ่มล่ะ 8 คน ให้ทำของเล่นวิทยาศาสตร์ที่สามารถนำมาให้เด็เล่นแข็งขันกันง่ายๆ เพื่อสรางความสนุก และบูรณาการเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ด้วย เรามาดูกันค่ะว่าเรามีการรียนการสอนกันอย่างไรบ้าง ดังภาพที่นำมาเผยแพร่ด้านล่างค่ะ

ภาพกิจกรรม


แจกกระดาษคนล่ะ 1 แผ่น


ให้เขียนขั้นตอนการประดิษฐ์ของเล่นของตนเอง


นำไปติดไว้หน้ากระดานเรียงกันร่วมกับเพื่อนๆ




จับกลุ่ม กลุ่มล่ะ 8 คน


ให้ปรึกษาการทำของเล่นที่จะนำไปจัดกิจกรรมกับเด็กเลือกมา 1 ชิ้น 





เมื่อเลือชิ้นงานได้แล้วให้วางแผนงาน เขียนขั้นตอนการดำเนินงาน /กิจกรรม


ออกไปนำเสนอการดำเนินงานตามแผนงานว่าเป็นอย่างไร และจบการนำเสนองานในครั้งนี้ค่ะ

ความรู้ที่ได้รับ
      -ได้รู้เรื่องเกี่ยวกับการทำของเล่นวิทยาศาสตร์เหมาะสำหรับเด็กปฐมวัย โดยของเล่นจะมีวิธีการเล่นที่ไม่ยากเกินไปใช้วัสดุที่มาตามธรรมชาติปลอดภัยกับเด็กและสงเสริมการเรียนรู้และบูรณาการกับวิชาวิทยาศาสตร์ด้วย 
       -ได้รู้เทคนิควิธีการสอนที่น่าสนใจและน่าปฏิบัติกิจกรรม โดยการสนทนาถามตอบก่อนเรียนจากนั้นตั้งประเด็นเพื่อให้เด็ได้คิดและตอบคำถาม ครูเป็นผู้จัดกิจกรรมแลอำนวยความสะดวกให้กับเด็กและนำเด็กปฏิบัติกิจกรรมให้บรรลุผลตามเป้าหมาย

ทักษะ
1.ทักษะการสังเกต
2.ทักษะการฟัง
3.ทักษะการตอบคำถาม
4.ทักษะการวิเคราะห์ตามคำแนะนำของครูผู้สอน
5.ทักษะการคิดรวบยอด
6.ทักษะการพิจารณาข้อผิดพลาด

การนำไปประยุกต์ใช้
           สามารถนำเอาความรู้จากการทำของเล่นวิทยาศาสตร์ที่ทำในวันนี้ไปประดิษฐ์ของเล่นของเด็กปฐมวัยเองได้และจะนำไปศึกษาวิธีการประดิษฐ์ของเล่นใหม่ๆขึ้นมาเพื่อให้หลากหลายให้เด็กได้เล่นและยังส่งเสริมความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และยังส่งเสริมพัฒนาการทั้ง4ด้านไปพร้อมๆกันโดยนำวิธีที่ศึกษาและประสบการณ์เดิมเข้ามาใช้เพื่อสร้างผลงานใหม่ๆอย่างประสิทธิภาพ

เทคนิคการสอนของครู
1.สนทนาและบรรยายสอดแรกคุณธรรมจริยธรรม
2.สอนให้ใช้เหตุผลประกอบเนื้อหาการสอน และจับประเด็นสำคัญ
3.เปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น


ประเมิณตนเอง : เข้าเรียนตรงต่อเวลา ช่วยเพื่อนๆระดมความคิด และออกไปนำเสนองานร่วมกับเพื่อน ให้ความสนใจและตั้งใจทำกิจกรรมตั้งแต่ต้น จนจบกิจกรรม

ประเมิณเพื่อน : ตรงต่อเวลา ตั้งใจร่วมกิจกรรมแสดงความคิดเห็นร่วมกัน และนำเสนองานของกลุ่มตนเองได้ลุล่วง
ประเมิณอาจารย์ : ตรงต่อเวลา พูดคุยสอบถามก่อนทำกิจกรรม และคอย ให้คำแนะนำหลังจากที่จบการนเสนอเพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไข 






บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 6

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 6



ไม่ได้มาเรียนค่ะ


วันเสาร์ที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2559


สรุปบทความ เรื่องวิทยาศาสตร์และการทดลอง

แนวคิดการสอนวิทยาศาสตร์ & เทคนิคพ่อแม่
ทักษะทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย


            เด็กปฐมวัยเป็นวัยที่มีความอยากรู้อยากเห็นต่อสิ่งแวดล้อมอยู่ตลอดเวลา เพราะเป็นวัยที่มีการ

พัฒนาทางสติปัญญา สูงที่สุดของชีวิต ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เป็นทักษะที่ส่งเสริมให้เด็ก
ปฐมวัยสามารถคิดหา เหตุผล แสวงหาความรู้สามารถแก้ปัญหาได้ตามวัยของเด็ก ควรจัดกิจกรรมให้เด็ก 
ได้ลงมือกระทำด้วยตนเองจากสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัว ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ อันเป็นกระบวน
การขั้นพื้นฐานหรือทักษะเบื้องต้นที่ควรส่งเสริมให้เด็กปฐมวัย ได้รับการพัฒนา มี 7 ทักษะ
กระบวนการ คือ
การทดลองแสนสนุก
           การทดลองวิทยาศาสตร์เป็นเรื่องสนุก และน่าทึ่งสำหรับเด็กๆอย่างพวกเรา  กานต์มีการทดลอง
ง่ายๆ ใช้อุปกรณ์ที่มีอยู่ในครัวของคุณแม่ หรือห้องเก็บของในบ้าน มาให้เพื่อนๆ  ลองเลือกสักอันเอาไป
เล่นทดลองกันวันหยุดนี้ซิครับ


สรุปงานวิจัย การพัฒนาทักษะกระวบการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของเด็กปฐมวัย  
โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัยและเทคนิคการใช้คำถาม

วัตถุประสงค์ของงานวิจัย

               1.เพื่อหาประสิทธิภาพของการจัดรูปแบบประสบการณ์เรียนรู้โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัยและการใช้คำถาม
               2.เพื่อดัชนีประสิทธิผลของรูปแบบการจัดประสบการณ์เรียนรู้โดยใช้การจัดการแบบเด็กนักวิจัยและการใช้คำถาม
              3. เพื่อเปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของเด็กปฐมวัยก่อนหลังการจัดประสบการณ์เรียนรู้โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบนักวิจัยและการใช้คำถาม

กลุ่มตัวอย่าง
            กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นเด็กปฐมวัย ชั้น อนุบาล 2 โรงเรียนชุมชนวัดสามบ่อ  จำนวน 34 คน ดำเนินการเลือกสุ่มแบบกลุ่ม 

การทดลอง
           ทำการทดลองจัดประสบการณ์เรียนรู้โดยใช้การจัดการเรียนรูู้แบบเด็กนักวิจัยและเทคนิคการใช้คำถาม ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553 เป็นเวลา 8 สัปดาห์ สัปดาห์ ล่ะ 5 วัน วันล่ะ 1 ชั่วโมง

ตัวแปร
ตัวแปนต้น  : กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

ตัวแปรตาม : การจัดกิจกรรมส่งเสริมทักษะ


เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
           1.แผนการจัดประสบการณ์เรียนรู้โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ แบบเด็กนักวิจัย 8 แผ่น
           2.แบบทดสอบระหว่างเรียน  จำนวน 8 ฉบับ ฉบับล่ะ 8 ข้อ
           3.แบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของเด็กปฐมวัย จำนวน 1 ฉับบ จำนวน  20  ข้อ

สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล
           t-test for Dependent Samples

ผลการวิจัย
          1.ระสิทธิภาพของการจัดรูปแบบประสบการณ์เรียนรู้โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัยและการใช้คำถาม มีประสทธิภาพ โดยเฉลี่ย (E1/E2) เท่ากับ 79.73/82.05
          2. ดัชนีประสิทธิผลของรูปแบบการจัดประสบการณ์เรียนรู้โดยใช้การจัดการแบบนักวิจัยและการใช้คำถาม มีค่าเท่ากับ 0.63
          3. เพื่อเปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของเด็กปฐมวัยก่อนหลังการจัดประสบการณ์เรียนรู้โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบนักวิจัยและการใช้คำถาม เทคนิคการใช้คำถามสูงกว่าก่อนรับการจัดประสบการณ์เรียนรู้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ระดับ .01


วันอาทิตย์ที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2559

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 5

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 5 

วันอังคาร ที่ 27 เดือน ตุลาคม พ.ศ.2559 เวลา 08.30 - 12.30 น.

บรรยากาศในชั้นเรียน
         วันนี้เข้าเรียนตามเวลาเดิมไม่สายค่ะ เข้ามาก็สนทนาพูดคุยก่อนเริ่มกิจกรรม หลังจากนั้นครูก็ฉายพาวเวอ์พ้อยเพื่อนสอนทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

ภาพกิจกรรม


แจกกระดาษคนล่ะ 1 แผ่น


คัดพยัญชนะไทย  45 ตัว ก-ฮ






นำเสนอของเล่นของแต่ล่ะคน





ส่งงานครั้งที่แล้ว



แจกกระดาษ A 4 คนล่ะ 1 แผ่น


นำมือวางลงกระดาษวาดตามเป็นลายเส้น แล้วร่างเส้นทับตามรูป


ใช่หมึก ที่มีสีแตกต่างกัน ร่างทับอีกเส้น แล้วจะสังเกตเห็นว่า เส้นนูนขึ้น เป็นภาพ 3 มิติ





ทำการทดลองวิทยาศาสตร์ นำพุ




ทดลองวิทยาศาสตร์ การไหลเวียนของน้ำ






แจกกระดาษ คนล่ะ 1 แผ่น จากนั้นพับดอกไม้แล้วทำเกศร


จากนั้นพับทั้ง 4 ด้านเข้าหาเกศร



จากนั้นนำไปลอยน้ำ ดอกจะค่อยๆบานออก เพราะน้ำค่อยๆไหลผ่านกระดาษจนถึงปลายดอกจนบานได้
เต็มที่ 




และกิจกรรมสุดท้ายคือ นำเสนอของเล่น (งานกลุ่ม)

ความรู้ที่ได้รับ
      -ได้รู้เรื่องเกี่ยวกับการทำของเล่นวิทยาศาสตร์เหมาะสำหรับเด็กปฐมวัย โดยของเล่นจะมีวิธีการเล่นที่ไม่ยากเกินไปใช้วัสดุที่มาตามธรรมชาติปลอดภัยกับเด็กและสงเสริมการเรียนรู้และบูรณาการกับวิชาวิทยาศาสตร์ด้วย 
       -ได้รู้เทคนิควิธีการสอนที่น่าสนใจและน่าปฏิบัติกิจกรรม โดยการสนทนาถามตอบก่อนเรียนจากนั้นตั้งประเด็นเพื่อให้เด็ได้คิดและตอบคำถาม ครูเป็นผู้จัดกิจกรรมแลอำนวยความสะดวกให้กับเด็กและนำเด็กปฏิบัติกิจกรรมให้บรรลุผลตามเป้าหมาย

ทักษะ
1.ทักษะการสังเกต
2.ทักษะการคัดลายมือให้สวยงาม
3.ทักษะการทดลอง
4.ทักษะการวิเคราะห์ตามคำแนะนำของครูผู้สอน
5.ทักษะการใช้ความคิดสร้างสรรค์
6.ทักษะการพิจารณาข้อผิดพลาด
7.ทักษะการการนำเสนองาน
8.ทักษะการทำงานเป็นกลุ่ม

การนำมาประยุกต์ใช้
      สามารถนำเอาความรู้จากการทำของเล่นวิทยาศาสตร์ที่ทำในวันนี้ไปประดิษฐ์ของเล่นของเด็กปฐมวัยเองได้และจะนำไปศึกษาวิธีการประดิษฐ์ของเล่นใหม่ๆ  และการออกแบบของเล่นที่เหมาะสมกับพัฒนาการ และการทดลองที่ง่ายๆเด็กสามารถทำและเรียนรู้ได้ด้วยตนเองและสามารถนำไป ต่อยอดเป็นความรู้ใหม่ได้

เทคนิคการสอนของครู
1.สนทนาและบรรยายสอดแรกคุณธรรมจริยธรรม
2.สอนให้ใช้เหตุผลประกอบเนื้อหาการสอน และจับประเด็นสำคัญ
3.เปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น

ประเมิณตนเอง : เข้าเรียนตรงต่อเวลา ช่วยเพื่อนๆระดมความคิด และออกไปนำเสนองานร่วมกับเพื่อน ให้ความสนใจและตั้งใจทำกิจกรรมตั้งแต่ต้น จนจบกิจกรรม


ประเมิณเพื่อน : ตรงต่อเวลา ตั้งใจร่วมกิจกรรมแสดงความคิดเห็นร่วมกัน และนำเสนองานของกลุ่มตนเองได้ลุล่วง
ประเมิณอาจารย์ : ตรงต่อเวลา พูดคุยสอบถามก่อนทำกิจกรรม และคอย ให้คำแนะนำหลังจากที่จบการนเสนอเพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไข