วันเสาร์ที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 12

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 12
วันอังคาร ที่ 22 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2559 เวลา 08.30-12.30 น.

บรรยากาศในชั้นเรียน
              วันนี้ครูตรวจงานประดิษฐ์งานเดี่ยวและพูดถึงเรื่อง STEM และวิดีโอการทำสิ่งประดิษฐ์ของแต่ล่ะกลุ่มพูดถึง อุปกรณ์ ขั้นตอนการทำ และขั้นตอนการสอน เชื่อมโยงสอดคล้องกับการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันอย่างไร กลุ่มดิฉันทำ ขวดน้ำนักขนของ สามารถนำไปใช้ได้จริง หากอยู่ในป่าที่รกๆ แล้วต้องการความช่วยเหลือสามารถส่งของผ่านขวดน้ำนักขนขงได้ค่ะ หลังจากนั้นครูก็นำกล่องวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยที่ใช้ในการเรียนรู้มาให้ได้ดูกันค่ะ ซึ่งเป็นประโยชน์มากๆเลยค่ะ

ภาพกิจกรรม



ส่งงานประดิษฐ์ (งานเดี่ยวที่แก้ไขแล้ว)








วิเคราะห์การนำไปใช้



กล่องนักวิทยาศาสตร์

ความรู้ที่ได้รับ

       -ได้รู้เทคนิควิธีการสอนที่น่าสนใจและน่าปฏิบัติกิจกรรม โดยการสนทนาถามตอบก่อนเรียนจากนั้นตั้งประเด็นเพื่อให้เด็ได้คิดและตอบคำถาม ครูเป็นผู้จัดกิจกรรมแลอำนวยความสะดวกให้กับเด็กและนำเด็กปฏิบัติกิจกรรมให้บรรลุผลตามเป้าหมาย
       - ได้รูวิธีการเขียนแผนการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และบูรณาการรายวิชาต่างๆอย่างเหมาะสมและยัง เชื่อมโยงกับกิจกรรมหลักทั้ง 6 กิจกรรม มีเทคนิควิธีการที่หลากหลาย และน่าสนใจ สามารถนำไปพัฒนาต่อไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ทักษะ
1.ทักษะการสังเกต
2.ทักษะการตัดสินใจ
3.ทักษะการวิเคราะห์ตามคำแนะนำของครูผู้สอน
4.ทักษะการใช้ความคิดสร้างสรรค์
5.ทักษะการแยกประเภท
6.ทักษะการการนำเสนองาน
7.ทักษะการทำงานเป็นกลุ่ม

การนำมาประยุกต์ใช้
      สามารถนำเอาความรู้จากการเขียนแผนการจัดประสบการณ์ของเด็กปฐมวัย ที่เหมาะสมกับเด็กแต่ละช่วงวัย บูรณาการรายวิชาที่กำลังเรียนในสัปดาห์นั้นๆ  สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย และสอดคล้องกับหน่วยที่เรียน 

เทคนิคการสอนของครู
1.สนทนาและบรรยายสอดแรกคุณธรรมจริยธรรม
2.สอนให้ใช้เหตุผลประกอบเนื้อหาการสอน และจับประเด็นสำคัญ
3.เปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น

ประเมิณตนเอง : เข้าเรียนตรงต่อเวลา ช่วยเพื่อนๆระดมความคิด และออกไปนำเสนองานร่วมกับเพื่อน ให้ความสนใจและตั้งใจทำกิจกรรมตั้งแต่ต้น จนจบกิจกรรม

ประเมิณเพื่อน : ตรงต่อเวลา ตั้งใจร่วมกิจกรรมแสดงความคิดเห็นร่วมกัน และนำเสนองานของกลุ่มตนเองได้ลุล่วง

ประเมิณอาจารย์ : ตรงต่อเวลา พูดคุยสอบถามก่อนทำกิจกรรม และคอย ให้คำแนะนำหลังจากที่จบการนเสนอเพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไข 

วันเสาร์ที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 11

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 11
วันอังคาร ที่ 15 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2559 เวลา 08.30-12.30 น.

บรรยากาศหน้าชั้นเรียน
              วันนี้ครูให้นักศึกษาแต่ล่ะกลุ่มที่ได้รับมอบหมายงานเกี่ยวกับแผนการจัดประสบการณ์ ทั้ง 7 หน่วย ให้แบ่งเป็นสอน วัน จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัสบดี และศุกร์ อีก 2 กลุ่มที่เหรอ ให้ตกลงเลือกวันเอง แล้วให้แต่ล่ะกลุ่มนำแผนการสอนที่กลุ่มนั้นได้รับนำมาจัดกิจกรรมให้ทุกคนในกลุ่มระดมความคิดจัดเตรียมอุปกรณ์แล้วนำมาสาธิตการสอนหน้าชั้นเรียน ดังภาพต่อไปนี้คะ

ภาพกิจกรรม

พูดคุยก่อนเริ่มกิจกรรม

นั่งเป็นครึ่งวงกลม

วันจันทร์ หน่วยผลไม้ (ชนิดของผลไม้)
ขั้นนำ คือ คำคล้องจองผลไม้ ซึ่งแสดงให้เด็กเห็นว่าผลไม้นั้นมีมากมากหลากหลายชนิด
ขั้นสอน คือ นำผลไม้ของจริงมาให้เด็กสังเกตว่าผลไม้แต่ละชนิดมีความเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร ซึ่งสามารถบรูณาการวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ได้  โดยการสังเกตและจำแนกหมวดหมู่ของผลไม้ว่าเป็นผลรวมหรือผลเดี่ยว (เกณฑ์ที่ใช้คือผลรวม ที่เหลือคือไม่ใช่ผลรวม)






กลุ่มที่ 1 วันจันทร์  (หน่วย ชนิดของผลไม้)

 วันอังคาร หน่วยไข่ (ลักษณะของไข่)
ขั้นนำ คือ เกมต่อจิ๊กซอว์เป็นรูปไข่
ขั้นสอน คือ ให้เด็กๆสังเกตลักษณะของไข่แต่ละชนิดและนำมาเปรียบเทียบกันว่าเหมือนหรือแตกต่างกัน
และให้เด็กรู้จักส่วนประกอบของไข่และนำมาเขียนลงตารางวิเคราะห์






กลุ่มที่ 2 วันอังคาร (หน่วย ลักษณะของไข่)

วันพุธ หน่วยต้นไม้ (ปัจจัยการเจริญเติบโตของต้นไม้)
ขั้นนำ คือ คำคล้องจองต้นไม้
ขั้นสอน คือ การปลูกต้นถั่วงอก ให้เด็กลงมือทำด้วยตนเองและสังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น








กลุ่มที่ 3 วันพุธ (หน่วย ปัจจัยการเจริญเติบโตของต้นไม้)

วันพฤหัสบดี หน่วยปลา (คุกกิ้งปลาทอดกรอบ)
กลุ่มนี้จะแตกต่างจากกลุ่มอื่นเพราะเป็นกิจกรรมคุ้กกิ้งเป็นกิจกรรมที่ให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติในการเข้าฐานแต่ละฐาน โดยในแต่ละฐานจะมีกิจกรรมให้เด็กทำไม่ซ้ำกัน โดยให้เด็กวนทำจนครบ เพื่อให้เด็กได้มีส่วนร่วมกับทุกขั้นตอน
       ฐานที่ 1 เป็นการตัดกระดาษเป็นรูปวงกลมตามแบบ
       ฐานที่ 2 เป็นการหั่นเนื้อปลาเป็น 2 ส่วน
       ฐานที่ 3 เป็นการนำเนื้อปลาที่หั่นแล้วไปชุบแป้ง
       ฐานที่ 4 เป็นการทอดปลา (ฐานนี้เด็กจะได้บรูณาการวิทยาศาสตร์โดยการสังเกตการเปลี่ยนแปลงของเนื้อปลา)















กลุ่มที่ 4 วันพฤหัสบดี (หน่วย คุกกิ้งปลาทอดกรอบ)

ความรู้ที่ได้รับ

       -ได้รู้เทคนิควิธีการสอนที่น่าสนใจและน่าปฏิบัติกิจกรรม โดยการสนทนาถามตอบก่อนเรียนจากนั้นตั้งประเด็นเพื่อให้เด็ได้คิดและตอบคำถาม ครูเป็นผู้จัดกิจกรรมแลอำนวยความสะดวกให้กับเด็กและนำเด็กปฏิบัติกิจกรรมให้บรรลุผลตามเป้าหมาย
       - ได้รูวิธีการเขียนแผนการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และบูรณาการรายวิชาต่างๆอย่างเหมาะสมและยัง เชื่อมโยงกับกิจกรรมหลักทั้ง 6 กิจกรรม มีเทคนิควิธีการที่หลากหลาย และน่าสนใจ สามารถนำไปพัฒนาต่อไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ทักษะ
1.ทักษะการสังเกต
2.ทักษะการตัดสินใจ
3.ทักษะการวิเคราะห์ตามคำแนะนำของครูผู้สอน
4.ทักษะการใช้ความคิดสร้างสรรค์
5.ทักษะการแยกประเภท
6.ทักษะการการนำเสนองาน
7.ทักษะการทำงานเป็นกลุ่ม

การนำมาประยุกต์ใช้
      สามารถนำเอาความรู้จากการเขียนแผนการจัดประสบการณ์ของเด็กปฐมวัย ที่เหมาะสมกับเด็กแต่ละช่วงวัย บูรณาการรายวิชาที่กำลังเรียนในสัปดาห์นั้นๆ  สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย และสอดคล้องกับหน่วยที่เรียน 

เทคนิคการสอนของครู
1.สนทนาและบรรยายสอดแรกคุณธรรมจริยธรรม
2.สอนให้ใช้เหตุผลประกอบเนื้อหาการสอน และจับประเด็นสำคัญ
3.เปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น

ประเมิณตนเอง : เข้าเรียนตรงต่อเวลา ช่วยเพื่อนๆระดมความคิด และออกไปนำเสนองานร่วมกับเพื่อน ให้ความสนใจและตั้งใจทำกิจกรรมตั้งแต่ต้น จนจบกิจกรรม

ประเมิณเพื่อน : ตรงต่อเวลา ตั้งใจร่วมกิจกรรมแสดงความคิดเห็นร่วมกัน และนำเสนองานของกลุ่มตนเองได้ลุล่วง

ประเมิณอาจารย์ : ตรงต่อเวลา พูดคุยสอบถามก่อนทำกิจกรรม และคอย ให้คำแนะนำหลังจากที่จบการนเสนอเพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไข 

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 10

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 10
วันอังคาร ที่ 8 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2559

       วันนี้ครูให้นำเสนอชิ้นงานที่แก้ไขวิดีโอครั้งที่แล้วจนครบทุกกลุ่ม และเรียนเรื่องหน่วย ที่จะนำไปจัดประวสบการณ์ ซึ่งครูให้แบ่งกลุ่ม กลุ่มล่ะ 5 คน 7กลุ่ม มีหน่วย 7หน่วยดังนี้

1.หน่วยต้นไม้
2.หน่วยปลา
3.หน่วยอากาศ
4.หน่วยผลไม้
5.หน่วยไข่
6.หน่วยดอกไม้ (กลุ่มของดิฉัน)
7.หน่วยยานพาหนะ

        โดยครูให้นำเสนอแผนการสอนของแต่ละวัน ได้แก่ วันจันทร์ วันอังคาร วันพุธ วันพฤหัส และวันศุกร์ 

คลิปที่แก้ไขแล้ว


ขวดน้ำนักขนของ


ภาพกิจกรรม







ครูอธิบายให้ความรู้การเขียนแผนการจัดประสบการณ์สำหรับเดกปฐมวัย
กลุ่มดิฉันจัดแผนวันศุกร์ หน่วย "การแปรรูปดอกไม้"

ภาพแผนการจัดประสบการณ์


ดิฉันเขียนแผนประโยชน์ของดอกไม้
สาระสำคัญ
      ประโยชน์ของดอกไม้ ประโยชน์ต่อตนเอง คือ ไว้ประดับตกแต่งบ้าน เชิงพาณิชย์ คือ แปรรูปเป็นน้ำหอม สีผสมอาหาร เป็นต้น

จุดประสงค์การเรียนรู้
  • เพื่อฝึกทักษะการฟัง การแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผลได้
  • เพื่อฝึกทักษะกระบวนการคิด มีสมาธิในการทำงาน
  • เด็กบอกประโยชน์ของดอกไม้ได้
ประสบการณ์สำคัญ
1.ด้านสังคม
   -ทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้
2.ด้านร่างกาย
  - สัมผัส จับสิ่งของเคลื่อนไหวร่างกาย
3.ด้านอารมณ์
  - เด็กสนุกกับการทำกิจกรรม
4.ด้านสติปัญญา
  - ฟังและปฎิบัติตามข้อตกลง

กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำ
1.เด็กและครูร่วมกัน ท่องคำคลองจอง "ประโยชน์ของดอกไม้"
        " พูดถึงดอกไม้      มากมายประโยชน์
          สีสันสวยสด        ไม่หมดคุณค่า
          ใช้ได้ทุกงาน       สร้างสรรค์นำมา
          อีกทั้งบูชา           เวลาสวดมนต์"
ขั้นสอน
2.เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลง ไม่เสียงดัง , ไม่แย่งกันเก็บเข้าที่
3.ครูสนทนาประโยชนืของดอกไม้
   - ดอกไม่มีประโยชน์อย่างไร
   - ดอกไม้สามารถนำไปทำอะไรได้บ้าง
   - ดอกไม้ชนิดไหนทำเป็นอาหารได้บ้าง
ขั้นสรุป
4.เด็กและครูร่วมกันสนทนาถึงกิจกรรมที่ทำในวันนี้ 

สื่อ/แหล่งเรียนรู้
คำคล้องจอง "ประโยชน์ของดอกไม้"

การวัดและประเมินผล
วิธีการวัด
- สังเกตจากการตอบคำถาม สนทนาซักถาม และแสดงความคิดเห็น
- สังเกตการแสดงออกและคิดอย่างมีเหตุผล

เครื่องมือวัด
- แบบสังเกตพฤติกรรม

เกณฑ์การประเมินผล 
- เด็กสามารถบอกประโยชน์ของผลไม้


ความรู้ที่ได้รับ

       -ได้รู้วิธีการทำคลิปวิดีโอสอนเด็ก ให้ความรู้ในการทำของเล่นวิทยาศาสตร์ ที่ใช้เทคนิควิธีการที่ดึงดูดความสนใจเด็กให้อยากชมคลิปและอยากปฏิบัติตาม
       - ได้รูวิธีการเขียนแผนการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และบูรณาการรายวิชาต่างๆอย่างเหมาะสมและยัง เชื่อมโยงกับกิจกรรมหลักทั้ง 6 กิจกรรม มีเทคนิควิธีการที่หลากหลาย และน่าสนใจ สามารถนำไปพัฒนาต่อไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ทักษะ
1.ทักษะการสังเกต
2.ทักษะการตัดสินใจ
3.ทักษะการวิเคราะห์ตามคำแนะนำของครูผู้สอน
4.ทักษะการใช้ความคิดสร้างสรรค์
5.ทักษะการแยกประเภท
6.ทักษะการการนำเสนองาน
7.ทักษะการทำงานเป็นกลุ่ม

การนำมาประยุกต์ใช้
      สามารถนำเอาความรู้จากการเขียนแผนการจัดประสบการณ์ของเด็กปฐมวัย ที่เหมาะสมกับเด็กแต่ละช่วงวัย บูรณาการรายวิชาที่กำลังเรียนในสัปดาห์นั้นๆ  สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย และสอดคล้องกับหน่วยที่เรียน 

เทคนิคการสอนของครู
1.สนทนาและบรรยายสอดแรกคุณธรรมจริยธรรม
2.สอนให้ใช้เหตุผลประกอบเนื้อหาการสอน และจับประเด็นสำคัญ
3.เปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น

ประเมิณตนเอง : เข้าเรียนตรงต่อเวลา ช่วยเพื่อนๆระดมความคิด และออกไปนำเสนองานร่วมกับเพื่อน ให้ความสนใจและตั้งใจทำกิจกรรมตั้งแต่ต้น จนจบกิจกรรม

ประเมิณเพื่อน : ตรงต่อเวลา ตั้งใจร่วมกิจกรรมแสดงความคิดเห็นร่วมกัน และนำเสนองานของกลุ่มตนเองได้ลุล่วง

ประเมิณอาจารย์ : ตรงต่อเวลา พูดคุยสอบถามก่อนทำกิจกรรม และคอย ให้คำแนะนำหลังจากที่จบการนเสนอเพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไข