วันศุกร์ที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2559

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 13

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 13
วันจันทร์ ที่ 28 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2559 เวลา 12:00-15:00 น.

บรรยากาศในชั้นเรียน
               วันนี้ครูพูดถึงการสอนในครั้งที่ผ่านๆมา ให้ส่งสิ่งประดิษฐ์ที่ไปแก้ไขมาเพิ่มและบอกแนวข้อสอบ หลังจากนั้นให้นักศึกษากลุ่มที่ยังไม่สอนออกมานำเสนอการสอน การใช้เทคนิควิธีการของแต่ล่ะกลุ่ม มี 3 กลุ่มดังนี้
                1.หน่วยอากาศ (วันอังคาร)
                2.หน่วยยานพาหนะ (วันพุธ)
                3.หน่วยแปรรูปดอกไม้ (วันศุกร์)

ภากกิจกรรมและการดำเนินกิจกรรม




จัดเตรียมสถานที่เพื่อการนำเสนอการสอน


กลุ่มที่ 1 หน่วยอากาศ คุณสมบัติของอากาศ (วันอังคาร )







ขั้นนำ  คือ  ร้องเพลง ลมพัด
ขั้นสอน  คือ  ทดลองใช้มือโดยการพัดเพื่อให้เกิดลม

กลุ่มที่ 2 หน่วยยานพาหนะ (วันพุธ  ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเคลื่อนที่)








ขั้นนำ   คือ  ตั้งประเด็นปัญหา
ขั้นสอน  คือ  ให้เด็กๆแยก พาหนะ ว่าใช้อะไรในการเคลื่อนที่

กลุ่มที่ 3 หน่วย ดอกไม้  ( การแปรรูปดอกไม้ ) (กลุ่มของดดิฉัน)


















ขั้นนำ   คือ  เล่านิทาน
ขั้นสอน  คือ  ให้เด็กๆบีบดอกไม้ที่ครูเตรียมมาว่าเป็นสีอะไรเพื่อจะนำมาเป็นสีผสมอาหาร
ขั้นสรุป  คือ ครูและเด็กร่วมกันสนทานาถาม-ตอบ

เพิ่มเติม ครูแนะนำให้นำดอกไม้ไปแปรรูปเป็นสบู่แล้วให้เด็กทำร่วมกับครูอย่างใกล้ชิดแบ่งเป็นฐานๆ 


ความรู้ที่ได้รับ

       -ได้รู้เทคนิควิธีการสอนที่น่าสนใจและน่าปฏิบัติกิจกรรม โดยการสนทนาถามตอบก่อนเรียนจากนั้นตั้งประเด็นเพื่อให้เด็ได้คิดและตอบคำถาม ครูเป็นผู้จัดกิจกรรมแลอำนวยความสะดวกให้กับเด็กและนำเด็กปฏิบัติกิจกรรมให้บรรลุผลตามเป้าหมาย
       - ได้รูวิธีการเขียนแผนการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และบูรณาการรายวิชาต่างๆอย่างเหมาะสมและยัง เชื่อมโยงกับกิจกรรมหลักทั้ง 6 กิจกรรม มีเทคนิควิธีการที่หลากหลาย และน่าสนใจ สามารถนำไปพัฒนาต่อไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ทักษะ
1.ทักษะการสังเกต
2.ทักษะการตัดสินใจ
3.ทักษะการวิเคราะห์ตามคำแนะนำของครูผู้สอน
4.ทักษะการใช้ความคิดสร้างสรรค์
5.ทักษะการแยกประเภท
6.ทักษะการการนำเสนองาน
7.ทักษะการทำงานเป็นกลุ่ม

การนำมาประยุกต์ใช้
      สามารถนำเอาความรู้จากการเขียนแผนการจัดประสบการณ์ของเด็กปฐมวัย ที่เหมาะสมกับเด็กแต่ละช่วงวัย บูรณาการรายวิชาที่กำลังเรียนในสัปดาห์นั้นๆ  สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย และสอดคล้องกับหน่วยที่เรียน 

เทคนิคการสอนของครู
1.สนทนาและบรรยายสอดแรกคุณธรรมจริยธรรม
2.สอนให้ใช้เหตุผลประกอบเนื้อหาการสอน และจับประเด็นสำคัญ
3.เปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น

ประเมิณตนเอง : เข้าเรียนตรงต่อเวลา ช่วยเพื่อนๆระดมความคิด และออกไปนำเสนองานร่วมกับเพื่อน ให้ความสนใจและตั้งใจทำกิจกรรมตั้งแต่ต้น จนจบกิจกรรม

ประเมิณเพื่อน : ตรงต่อเวลา ตั้งใจร่วมกิจกรรมแสดงความคิดเห็นร่วมกัน และนำเสนองานของกลุ่มตนเองได้ลุล่วง

ประเมิณอาจารย์ : ตรงต่อเวลา พูดคุยสอบถามก่อนทำกิจกรรม และคอย ให้คำแนะนำหลังจากที่จบการนเสนอเพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไข 


วันเสาร์ที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 12

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 12
วันอังคาร ที่ 22 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2559 เวลา 08.30-12.30 น.

บรรยากาศในชั้นเรียน
              วันนี้ครูตรวจงานประดิษฐ์งานเดี่ยวและพูดถึงเรื่อง STEM และวิดีโอการทำสิ่งประดิษฐ์ของแต่ล่ะกลุ่มพูดถึง อุปกรณ์ ขั้นตอนการทำ และขั้นตอนการสอน เชื่อมโยงสอดคล้องกับการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันอย่างไร กลุ่มดิฉันทำ ขวดน้ำนักขนของ สามารถนำไปใช้ได้จริง หากอยู่ในป่าที่รกๆ แล้วต้องการความช่วยเหลือสามารถส่งของผ่านขวดน้ำนักขนขงได้ค่ะ หลังจากนั้นครูก็นำกล่องวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยที่ใช้ในการเรียนรู้มาให้ได้ดูกันค่ะ ซึ่งเป็นประโยชน์มากๆเลยค่ะ

ภาพกิจกรรม



ส่งงานประดิษฐ์ (งานเดี่ยวที่แก้ไขแล้ว)








วิเคราะห์การนำไปใช้



กล่องนักวิทยาศาสตร์

ความรู้ที่ได้รับ

       -ได้รู้เทคนิควิธีการสอนที่น่าสนใจและน่าปฏิบัติกิจกรรม โดยการสนทนาถามตอบก่อนเรียนจากนั้นตั้งประเด็นเพื่อให้เด็ได้คิดและตอบคำถาม ครูเป็นผู้จัดกิจกรรมแลอำนวยความสะดวกให้กับเด็กและนำเด็กปฏิบัติกิจกรรมให้บรรลุผลตามเป้าหมาย
       - ได้รูวิธีการเขียนแผนการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และบูรณาการรายวิชาต่างๆอย่างเหมาะสมและยัง เชื่อมโยงกับกิจกรรมหลักทั้ง 6 กิจกรรม มีเทคนิควิธีการที่หลากหลาย และน่าสนใจ สามารถนำไปพัฒนาต่อไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ทักษะ
1.ทักษะการสังเกต
2.ทักษะการตัดสินใจ
3.ทักษะการวิเคราะห์ตามคำแนะนำของครูผู้สอน
4.ทักษะการใช้ความคิดสร้างสรรค์
5.ทักษะการแยกประเภท
6.ทักษะการการนำเสนองาน
7.ทักษะการทำงานเป็นกลุ่ม

การนำมาประยุกต์ใช้
      สามารถนำเอาความรู้จากการเขียนแผนการจัดประสบการณ์ของเด็กปฐมวัย ที่เหมาะสมกับเด็กแต่ละช่วงวัย บูรณาการรายวิชาที่กำลังเรียนในสัปดาห์นั้นๆ  สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย และสอดคล้องกับหน่วยที่เรียน 

เทคนิคการสอนของครู
1.สนทนาและบรรยายสอดแรกคุณธรรมจริยธรรม
2.สอนให้ใช้เหตุผลประกอบเนื้อหาการสอน และจับประเด็นสำคัญ
3.เปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น

ประเมิณตนเอง : เข้าเรียนตรงต่อเวลา ช่วยเพื่อนๆระดมความคิด และออกไปนำเสนองานร่วมกับเพื่อน ให้ความสนใจและตั้งใจทำกิจกรรมตั้งแต่ต้น จนจบกิจกรรม

ประเมิณเพื่อน : ตรงต่อเวลา ตั้งใจร่วมกิจกรรมแสดงความคิดเห็นร่วมกัน และนำเสนองานของกลุ่มตนเองได้ลุล่วง

ประเมิณอาจารย์ : ตรงต่อเวลา พูดคุยสอบถามก่อนทำกิจกรรม และคอย ให้คำแนะนำหลังจากที่จบการนเสนอเพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไข 

วันเสาร์ที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 11

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 11
วันอังคาร ที่ 15 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2559 เวลา 08.30-12.30 น.

บรรยากาศหน้าชั้นเรียน
              วันนี้ครูให้นักศึกษาแต่ล่ะกลุ่มที่ได้รับมอบหมายงานเกี่ยวกับแผนการจัดประสบการณ์ ทั้ง 7 หน่วย ให้แบ่งเป็นสอน วัน จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัสบดี และศุกร์ อีก 2 กลุ่มที่เหรอ ให้ตกลงเลือกวันเอง แล้วให้แต่ล่ะกลุ่มนำแผนการสอนที่กลุ่มนั้นได้รับนำมาจัดกิจกรรมให้ทุกคนในกลุ่มระดมความคิดจัดเตรียมอุปกรณ์แล้วนำมาสาธิตการสอนหน้าชั้นเรียน ดังภาพต่อไปนี้คะ

ภาพกิจกรรม

พูดคุยก่อนเริ่มกิจกรรม

นั่งเป็นครึ่งวงกลม

วันจันทร์ หน่วยผลไม้ (ชนิดของผลไม้)
ขั้นนำ คือ คำคล้องจองผลไม้ ซึ่งแสดงให้เด็กเห็นว่าผลไม้นั้นมีมากมากหลากหลายชนิด
ขั้นสอน คือ นำผลไม้ของจริงมาให้เด็กสังเกตว่าผลไม้แต่ละชนิดมีความเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร ซึ่งสามารถบรูณาการวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ได้  โดยการสังเกตและจำแนกหมวดหมู่ของผลไม้ว่าเป็นผลรวมหรือผลเดี่ยว (เกณฑ์ที่ใช้คือผลรวม ที่เหลือคือไม่ใช่ผลรวม)






กลุ่มที่ 1 วันจันทร์  (หน่วย ชนิดของผลไม้)

 วันอังคาร หน่วยไข่ (ลักษณะของไข่)
ขั้นนำ คือ เกมต่อจิ๊กซอว์เป็นรูปไข่
ขั้นสอน คือ ให้เด็กๆสังเกตลักษณะของไข่แต่ละชนิดและนำมาเปรียบเทียบกันว่าเหมือนหรือแตกต่างกัน
และให้เด็กรู้จักส่วนประกอบของไข่และนำมาเขียนลงตารางวิเคราะห์






กลุ่มที่ 2 วันอังคาร (หน่วย ลักษณะของไข่)

วันพุธ หน่วยต้นไม้ (ปัจจัยการเจริญเติบโตของต้นไม้)
ขั้นนำ คือ คำคล้องจองต้นไม้
ขั้นสอน คือ การปลูกต้นถั่วงอก ให้เด็กลงมือทำด้วยตนเองและสังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น








กลุ่มที่ 3 วันพุธ (หน่วย ปัจจัยการเจริญเติบโตของต้นไม้)

วันพฤหัสบดี หน่วยปลา (คุกกิ้งปลาทอดกรอบ)
กลุ่มนี้จะแตกต่างจากกลุ่มอื่นเพราะเป็นกิจกรรมคุ้กกิ้งเป็นกิจกรรมที่ให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติในการเข้าฐานแต่ละฐาน โดยในแต่ละฐานจะมีกิจกรรมให้เด็กทำไม่ซ้ำกัน โดยให้เด็กวนทำจนครบ เพื่อให้เด็กได้มีส่วนร่วมกับทุกขั้นตอน
       ฐานที่ 1 เป็นการตัดกระดาษเป็นรูปวงกลมตามแบบ
       ฐานที่ 2 เป็นการหั่นเนื้อปลาเป็น 2 ส่วน
       ฐานที่ 3 เป็นการนำเนื้อปลาที่หั่นแล้วไปชุบแป้ง
       ฐานที่ 4 เป็นการทอดปลา (ฐานนี้เด็กจะได้บรูณาการวิทยาศาสตร์โดยการสังเกตการเปลี่ยนแปลงของเนื้อปลา)















กลุ่มที่ 4 วันพฤหัสบดี (หน่วย คุกกิ้งปลาทอดกรอบ)

ความรู้ที่ได้รับ

       -ได้รู้เทคนิควิธีการสอนที่น่าสนใจและน่าปฏิบัติกิจกรรม โดยการสนทนาถามตอบก่อนเรียนจากนั้นตั้งประเด็นเพื่อให้เด็ได้คิดและตอบคำถาม ครูเป็นผู้จัดกิจกรรมแลอำนวยความสะดวกให้กับเด็กและนำเด็กปฏิบัติกิจกรรมให้บรรลุผลตามเป้าหมาย
       - ได้รูวิธีการเขียนแผนการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และบูรณาการรายวิชาต่างๆอย่างเหมาะสมและยัง เชื่อมโยงกับกิจกรรมหลักทั้ง 6 กิจกรรม มีเทคนิควิธีการที่หลากหลาย และน่าสนใจ สามารถนำไปพัฒนาต่อไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ทักษะ
1.ทักษะการสังเกต
2.ทักษะการตัดสินใจ
3.ทักษะการวิเคราะห์ตามคำแนะนำของครูผู้สอน
4.ทักษะการใช้ความคิดสร้างสรรค์
5.ทักษะการแยกประเภท
6.ทักษะการการนำเสนองาน
7.ทักษะการทำงานเป็นกลุ่ม

การนำมาประยุกต์ใช้
      สามารถนำเอาความรู้จากการเขียนแผนการจัดประสบการณ์ของเด็กปฐมวัย ที่เหมาะสมกับเด็กแต่ละช่วงวัย บูรณาการรายวิชาที่กำลังเรียนในสัปดาห์นั้นๆ  สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย และสอดคล้องกับหน่วยที่เรียน 

เทคนิคการสอนของครู
1.สนทนาและบรรยายสอดแรกคุณธรรมจริยธรรม
2.สอนให้ใช้เหตุผลประกอบเนื้อหาการสอน และจับประเด็นสำคัญ
3.เปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น

ประเมิณตนเอง : เข้าเรียนตรงต่อเวลา ช่วยเพื่อนๆระดมความคิด และออกไปนำเสนองานร่วมกับเพื่อน ให้ความสนใจและตั้งใจทำกิจกรรมตั้งแต่ต้น จนจบกิจกรรม

ประเมิณเพื่อน : ตรงต่อเวลา ตั้งใจร่วมกิจกรรมแสดงความคิดเห็นร่วมกัน และนำเสนองานของกลุ่มตนเองได้ลุล่วง

ประเมิณอาจารย์ : ตรงต่อเวลา พูดคุยสอบถามก่อนทำกิจกรรม และคอย ให้คำแนะนำหลังจากที่จบการนเสนอเพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไข